กฎของอุปทานเป็นไปตามข้อใด
- ราคาสินค้าและปริมาณขายเปลี่ยนแปลงในทิศทางเดียวกัน
- ราคาสินค้าจะไม่มีผลกระทบต่อปริมาณการเสนอขาย
- ถ้าราคาสูงขึ้นปริมาณเสนอขายจะเท่าเดิม
- ราคาสินค้าและปริมาณขายเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางตรงกันข้าม
จากตารางตามกลไกราคาของตลาดส้มเขียวหวาน ณ ระดับราคาใดทำให้เกิดดุลยภาพของตลาด
- 30 บาท
- 40 บาท
- 50 บาท
- 20 บาท
จากตาราง ณ ระดับราคาใดที่ทำให้เกิดภาวะสินค้าล้นตลาดมากที่สุด
- 50 บาท
- 40 บาท
- 30 บาท
- 20 บาท
อุปทาน supply หมายถึงอะไร
- ความต้องการของผู้ประกอบการในการขายสินค้าและบริการ
- ความต้องการของผู้ผลิตที่จะซื้อสินค้าและบริการ
- ความต้องการของผู้บริโภคในการซื้อสินค้าและบริการ
- ความต้องการของผู้ขายสินค้าในการซื้อสินค้าและบริการ
กฎของอุปสงค์ต่อราคากล่าวว่าอย่างไร
- เมื่อราคาสินค้าสูงขึ้นปริมาณความต้องการซื้อสินค้าจะลดลง
- เมื่อราคาสินค้าต่ำลงปริมาณความต้องการซื้อสินค้าจะลดลง
- เมื่อราคาสินค้าสูงขึ้นปริมาณความต้องการซื้อสินค้าจะสูงขึ้น
- เมื่อต้นทุนราคาสินค้าสูงขึ้นปริมาณความต้องการซื้อสินค้าจะเพิ่มขึ้น
กฎของอุปทาน แสดงถึงอะไร
- ความสัมพันธ์ในทางเดียวกันระหว่างราคาสินค้าและปริมาณอุปทาน
- ความสัมพันธ์ในทางตรงข้ามระหว่างปริมาณเสนอซื้อและปริมาณเสนอขาย
- ความสัมพันธ์ในทางตรงกันข้ามระหว่างราคาสินค้าและปริมาณอุปทาน
- ความสัมพันธ์ในทางเดียวกันระหว่างปริมาณเสนอซื้อและปริมาณเสนอขาย
ข้อใดจัดเป็นกฎของอุปทาน Law of Supply
- เมื่อราคาสินค้าและบริการสูงขึ้นความต้องการขายมากขึ้น
- เมื่อราคาสินค้าและบริการต่ำลงความต้องการขายมากขึ้น
- เมื่อราคาสินค้าและบริการสูงขึ้นความต้องการขายลดลง
- ราคาของสินค้าและบริการไม่มีผลต่อการอุปโภคหรือบริโภค
ข้อใดคืออุปทาน
- ความต้องการของผู้ผลิตหรือผู้ขาย ในการขายสินค้าและบริการ ที่ผู้ผลิตเสนอขายในระยะเวลาหนึ่ง
- การตัดสินใจเลือกบริโภคสินค้าและบริการที่ทำให้ตนได้รับความพอใจมากที่สุด
- กระบวนการผลิตสินค้าหรือบริการ ที่ทำให้ผู้บริโภคได้รับอรรถประโยชน์สูงสุด
- ความต้องการของผู้บริโภคในการซื้อสินค้าและบริการในระยะเวลาหนึ่ง ซึ่งอาจเปลี่ยนแปลงได้เพราะจำนวนประชากร รสนิยมในการบริโภค
คำว่า "อุปทานลดลง" น่าจะสอดคล้องกับข้อใด
- ถ้าให้ขายสินค้าราคาถูกลง ผู้ผลิตจะขายในปริมาณน้อยลง
- ถ้าให้ขายสินค้าราคาสูง ผู้ผลิตจะขายในปริมาณเพิ่มขึ้น
- ถ้าให้ขายสินค้าปริมาณเพิ่ม ผู้ผลิตจะขายในปริมาณน้อยลง
- ถ้าให้ขายสินค้าราคาถูกลง ผู้ผลิตจะขายในปริมาณเพิ่มขึ้น
การลดลงของราคารถจักรยานยนต์ ปริมาณขายรถจักรยานยนต์ เพิ่มขึ้นตามไปด้วยเป็นผลมาจากอะไร
- การเพิ่มขึ้นของอุปสงค์
- การลดลงของอุปสงค์
- การลดลงของอุปทาน
- การเพิ่มขึ้นของอุปทาน
ตามกลไกราคาเหตุการณ์ของการขาดแคลนข้าวเกิดขึ้นเมื่อใด
- ปริมาณอุปสงค์ของข้าวมีมากกว่าปริมาณอุปทานของข้าว
- ปริมาณอุปทานของข้าวมีมากกว่าปริมาณอุปสงค์ของข้าว
- ผลผลิตข้าวปีนี้สูงกว่าปีที่แล้ว
- ผลผลิตข้าวปีนี้ต่ำกว่าปีที่แล้ว
ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
- เมื่อราคาสินค้าและบริการสูงขึ้นความต้องการซื้อจึงมากขึ้น
- เมื่อราคาสินค้าและบริการต่ำลงความต้องการซื้อจึงมากขึ้น
- เมื่อราคาสินค้าและบริการสูงขึ้นความต้องการขายจึงมากขึ้น
- เมื่อราคาสินค้าและบริการต่ำลงความต้องการขายจึงต่ำลง
ข้อใดน่าจะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงปริมาณการจำหน่ายบนเส้นอุปทานของน้ำมันเบ็นซินหน้าปั้ม
- ราคาน้ำมันเบ็นซิน
- ราคาน้ำมันดีเซล
- ราคาน้ำมันแก๊สโซฮอล์ 95
- ราคาปิโตรเลียม
จากรูปข้างบนนี้ การแสดงทิศทางของลูกศรจากจุด A มายังจุด B มีความหมายตรงกับข้อใด
- ปริมาณขายลดลง
- อุปทานเพิ่มขึ้น
- อุปสงค์ลดลง
- ปริมาณซื้อลดลง
การเปลี่ยนแปลงของปัจจัยในข้อใด ไม่ใช่ สาเหตุที่ทำให้อุปสงค์สำหรับสินค้าเปลี่ยนแปลง
- การคาดคะเนเกี่ยวกับราคาของผู้บริโภค
- ราคาของสินค้าชนิดนั้น
- รายได้ของผู้บริโภค
- รสนิยมของผู้บริโภค
รูปต่อไปนี้แสดงอุปสงค์ (D) และอุปทาน (S) ของตลาดสินค้าชนิดหนึ่ง
สมมติว่า ระดับราคาอยู่ที่หน่วยละ 20 บาท ถ้านักเรียนเป็นเป็นผู้ผลิตสินค้า
นักเรียนจะทำอย่างไรจึงจะเกิดประโยชน์สูงสุด
- ขึ้นราคาสินค้า และเพิ่มปริมาณการผลิต
- ขึ้นราคาสินค้าและลดปริมาณการผลิต
- ลดราคาสินค้าและเพิ่มปริมาณการผลิต
- ลดราคาสินค้าและลดปริมาณการผลิต
ถ้าราคาน้ำตาลทราย เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 15 บาท เป็น 25 บาท ตามกฎอุปสงค์ (Law of Demand)จะทำให้เกิดผลในข้อใด
- ปริมาณการเสนอซื้อจะลดลง
- ปริมาณการเสนอขายจะสูงขึ้น
- ปริมาณการเสนอขายจะต่ำลง
- ปริมาณการเสนอซื้อจะสูงขึ้น
การกำหนดราคาเชิงกลยุทธ์สอดคล้องกับข้อใด
- การกำหนดราคาเพื่อเพิ่มส่วนแบ่งการตลาด
- การกำหนดราคาสินค้าในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์
- การกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทาน
- การกำหนดราคาโดยผู้ซื้อ
ราคาสินค้าที่ทำให้เกิด “อุปสงค์ส่วนเกิน” คือราคาในข้อใด
- ราคาที่ต่ำกว่าราคาดุลยภาพ
- ราคาที่เกินต้นทุน
- ราคาดุลยภาพ
- ราคาที่สูงกว่าราคาดุลยภาพ
ข้อใดสอดคล้องกับ “อุปสงค์ตลาด” ของหนังสือพิมพ์สยามกีฬารายวัน มากที่สุด
- มีผู้ซื้อไปอ่านวันละ 300,000 บาท
- ร้านค้าในตลาดรับมาขายวันละ 30 ฉบับ
- นายธาดาซื้อมาอ่านสัปดาห์ละ 3 ฉบับ
- ยอดผลิตของบริษัทฯ วันละ 300,000 ฉบับ
ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ มีลักษณะอย่างไร
- ผู้ผลิตจำนวนมาก ขายสินค้าตามราคาตลาด
- ผู้ผลิตรายใหม่เข้ามาแข่งขันในตลาดได้ยาก
- ผู้ผลิตจำนวนน้อย แข่งขันกันทางด้านราคา
- ผู้ผลิตจำนวนมาก สามารถกำหนดราคาเองได้
ตลาดประเภทใดที่ไม่มีการแข่งขันของผู้ผลิต
- ตลาดผูกขาด
- ตลาดผู้ขายน้อยราย
- ตลาดแข่งขันสมบูรณ์
- ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
ข้อใดจัดเป็นสินค้าในตลาดผู้ขายน้อยราย
- รถยนต์
- รถไฟฟ้า
- ข้าวเปลือก
- ข้าวขาหมู
ข้อดีของตลาดแบบผูกขาด คือข้อใด
- มีการวิจัยและพัฒนาเทคนิคการผลิต
- มีสินค้าหลากหลายให้ผู้บริโภคได้เลือก
- ปริมาณการผลิตไม่มาก ทำให้ประหยัดทรัพยากร
- ผู้บริโภคซื้อสินค้าในราคายุติธรรม
ความสำคัญของตลาดคือข้อใด
- ช่วยให้ผู้ซื้อและผู้ขายได้รับประโยชน์จากการซื้อขาย
- ช่วยให้ผู้ซื้อและผู้ขายได้มาพบปะกัน
- ช่วยให้ผู้ผลิตมีรายได้จากการขายสินค้า
- ช่วยให้ผู้บริโภคได้ซื้อสินค้าในราคายุติธรรม
ข้อใดเป็นสาเหตุของความล้มเหลวของตลาดหรือกลไกราคา
- การผูกขาดการผลิตในสินค้าบางชนิด
- การกระจายรายได้ที่ไม่เป็นธรรม
- การดำเนินนโยบายที่ผิดพลาดของรัฐบาล
- อุปสงค์ของผู้บริโภคสูงกว่าอุปทานของผู้ผลิต
ตลาดประเภทใดที่ผู้ผลิตไม่จำเป็นต้องโฆษณาสินค้า
- ตลาดแข่งขันสมบูรณ์
- ตลาดผู้ขายน้อยราย
- ตลาดผูกขาด
- ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
ธนาคารพาณิชย์ในประเทศไทยถือเป็นตลาดประเภทใด
- ผู้ขายน้อยราย
- แข่งขันสมบูรณ์
- กึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
- ผูกขาด
ข้อใดไม่ใช่มาตรการในการแก้ไขปัญหาตลาดมืด
- ให้ความรู้ทางเศรษฐศาสตร์แก่ผู้บริโภค
- ปราบปรามผู้ฉวยโอกาสขึ้นราคาสินค้า
- เร่งผลิตสินค้าที่ขาดแคลนมากขึ้น
- สั่งซื้อสินค้าที่ขาดแคลนจากต่างประเทศ
ข้อใดไม่ใช่ตลาดปัจจัยการผลิต
- ตลาดหุ้น
- ตลาดทราย
- ตลาดแรงงาน
- ตลาดโคกระบือ
รูปต่อไปนี้แสดงอุปสงค์ (D) และอุปทาน (S) ของตลาดสินค้าชนิดหนึ่ง
ปริมาณสินค้าที่หน่วยธุรกิจควรผลิตควรอยู่ ณ ตำแหน่งใดจึงเกิดราคาดุลยภาพ
- QE
- Q1
- O
- Q2
รูปต่อไปนี้แสดงอุปสงค์ (D) และอุปทาน (S) ของตลาดสินค้าชนิดหนึ่ง
ปริมาณสินค้าที่หน่วยผลิต น่าจะอยู่ ณ ตำแหน่งใด ถ้ารัฐกำหนดราคาP min จะไม่เกิดสินค้าล้นตลาด
- Q1
- Q2
- QE
- O
รูปต่อไปนี้แสดงอุปสงค์ (D) และอุปทาน (S) ของตลาดสินค้าชนิดหนึ่ง
ถ้ารัฐกำหนดราคาPmin บริเวณสี่เหลี่ยม A B Q2 Q1 เรียกว่าอะไร
- อุปทานส่วนเกิน
- สินค้าทุน
- สินค้าที่ผู้ซื้อรับไปบริโภค
- อุปสงค์ส่วนเกิน
รูปต่อไปนี้แสดงอุปสงค์ (D) และอุปทาน (S) ของตลาดสินค้าชนิดหนึ่ง
จากกราฟที่แสดงดังภาพน่าจะเป็นสินค้าอะไรในประเทศไทย
- ข้าวเปลือก
- คอมพิวเตอร์
- รถยนต์TOYOTA
- ข้าวสารเหนียว
ข้อใดเป็นลักษณะเด่นที่สุดที่ปรากฏในระบบเศรษฐกิจของประเทศ
- บทบาทของรัฐบาลและเอกชนในกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
- บทบาทของรัฐบาลในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจและการค้าต่างประเทศ
- บทบาทของรัฐบาลในทางเศรษฐกิจและการปกครอง
- ปริมาณการผลิตและการบริโภคของประชาชนในประเทศและการค้าต่างประเทศ
ลักษณะที่สำคัญของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมเป็นอย่างไร
- ใช้กลไกราคาในการแก้ปัญหาทางเศรษฐกิจ
- มีการใช้เงินเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน
- มีการวางแผนจากส่วนกลางแต่เอกชนเป็นผู้ดำเนินการ
- เอกชนถูกควบคุมและชี้นำโดยรัฐบาล
ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่ ลักษณะของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม
- การจัดสินค้าเป็นไปอย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกันเสมอ
- ใช้กลไกราคาเป็นเครื่องมือในการแก้ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ
- เอกชนดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจโดยเน้นผลประโยชน์ส่วนบุคคล
- เอกชนมีสิทธิเป็นเจ้าของทรัพย์สินได้ตามกฎหมาย
ระบบเศรษฐกิจของประเทศไทยในปัจจุบันเป็นแบบใด
- แบบผสมที่ค่อนไปทางทุนนิยม
- แบบทุนนิยมอย่างสมบูรณ์แบบ
- แบบทุนนิยมที่ค่อนไปทางสังคมนิยม
- แบบผสมที่ค่อนไปทางสังคมนิยม
ข้อใดเป็นข้อดีของระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม
- มีความเท่าเทียมกันในฐานะทางเศรษฐกิจระหว่างบุคคล
- เอกชนมีเสรีภาพในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
- การจัดสรรทรัพยากรมีประสิทธิภาพ
- มีความยืดหยุ่นในการเลือกใช้เครื่องมือเพื่อแก้ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ
ข้อใด ไม่ใช่ ลักษณะของระบบเศรษฐกิจไทย
- รัฐบาลยินยอมให้เอกชนกำหนดทิศทางของเศรษฐกิจทั้งหมด
- เป็นแบบผสมที่ผู้ประกอบการเอกชนมีบทบาทสำคัญ
- มีรัฐบาลเป็นผู้ผูกขาดกิจการด้านการผลิตบางประเภท
- มีการแข่งขันกันมากโดยเฉพาะในกิจการขนาดเล็ก
ข้อใดตรงกับความหมายของ “ตลาด” ในทางเศรษฐศาสตร์มากที่สุด
- การตกลงซื้อขายสินค้าหรือบริการ
- แหล่งพบปะระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย
- การจำหน่ายสินค้าหรือบริการ
- สถานที่สำหรับซื้อขายสินค้าและบริการ
องค์ประกอบที่สำคัญของตลาดตรงกับข้อใด
- ผู้ซื้อผู้ขาย สินค้าหรือบริการ
- สถานที่ ผู้ซื้อผู้ขาย
- สถานที่ ผู้ซื้อ สินค้าและบริการ
- สถานที่ ผู้ขาย สินค้าหรือบริการ
ความสำคัญของตลาดต่อระบบเศรษฐกิจคือข้อใด
- ผู้ซื้อและผู้ขายได้รับประโยชน์จากการซื้อขาย
- ผู้บริโภคได้ซื้อสินค้าในราคายุติธรรม
- ผู้ผลิตมีรายได้จากการขายสินค้า
- ผู้ซื้อและผู้ขายได้มาพบกัน
ข้อใดไม่ใช่ตลาดปัจจัยการผลิต
- ตลาดหุ้น
- ตลาดโคกระบือ
- ตลาดแรงงาน
- ตลาดทราย
ข้อใดเป็นลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
- มีผู้ผลิตจำนวนมาก แต่ละรายขายสินค้าราคาตลาด
- มีผู้ผลิตจำนวนน้อยแต่ละรายมีการแข่งขันด้านโฆษณา
- มีผู้ผลิตจำนวนน้อยแต่ละรายมีการแข่งขันกันทางด้านราคา
- มีผู้ผลิตจำนวนมาก แต่ละรายสามารถกำหนดราคาเองได้
สินค้าตามข้อใดที่มีโครงสร้างตลาดใกล้เคียงกับตลาดแข่งขันสมบูรณ์มากที่สุด
- ข้าวเปลือก
- ข้าวแช่
- ข้าวสารบรรจุถุง
- ข้าวมันไก่
ตลาดรูปแบบใดที่ไม่มีการแข่งขันของผู้ผลิต
- ตลาดผูกขาด
- ตลาดแข่งขันสมบูรณ์
- ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
- ตลาดผูกขาดน้อยราย
ตลาดรูปแบบใดที่ผู้ผลิตไม่จำเป็นต้องโฆษณาสินค้า
- ตลาดแข่งขันสมบูรณ์
- ตลาดผูกขาดน้อยราย
- ตลาดผูกขาด
- ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
ธนาคารพาณิชย์ในประเทศไทยถือเป็นตลาด ประเภทใด
- ตลาดผูกขาดน้อยราย
- ตลาดแข่งขันสมบูรณ์
- ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
- ตลาดผูกขาด
ผู้รับราคา (price taker) อยู่ในตลาดรูปแบบใด
- ตลาดแข่งขันสมบูรณ์
- ตลาดผูกขาดน้อยราย
- ตลาดผูกขาด
- ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ มีลักษณะอย่างไร
- ผู้ผลิตจำนวนมาก ขายสินค้าตามราคาตลาด
- ผู้ผลิตรายใหม่เข้ามาแข่งขันในตลาดได้ยาก
- ผู้ผลิตจำนวนน้อย แข่งขันกันทางด้านราคา
- ผู้ผลิตจำนวนมาก สามารถกำหนดราคาเองได้
ตลาดประเภทใดที่ไม่มีการแข่งขันของผู้ผลิต
- ตลาดผูกขาด
- ตลาดผู้ขายน้อยราย
- ตลาดแข่งขันสมบูรณ์
- ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
ข้อใดจัดเป็นสินค้าในตลาดผู้ขายน้อยราย
- รถยนต์
- รถไฟฟ้า
- ข้าวเปลือก
- ข้าวขาหมู
ข้อดีของตลาดแบบผูกขาด คือข้อใด
- มีการวิจัยและพัฒนาเทคนิคการผลิต
- ผู้บริโภคซื้อสินค้าในราคายุติธรรม
- มีสินค้าหลากหลายให้ผู้บริโภคได้เลือก
- ปริมาณการผลิตไม่มาก ทำให้ประหยัดทรัพยากร
ความสำคัญของตลาดคือข้อใด
- ช่วยให้ผู้ซื้อและผู้ขายได้รับประโยชน์จากการซื้อขาย
- ช่วยให้ผู้บริโภคได้ซื้อสินค้าในราคายุติธรรม
- ช่วยให้ผู้ผลิตมีรายได้จากการขายสินค้า
- ช่วยให้ผู้ซื้อและผู้ขายได้มาพบปะกัน
ข้อใดเป็นสาเหตุของความล้มเหลวของตลาดหรือกลไกราคา
- การผูกขาดการผลิตในสินค้าบางชนิด
- การกระจายรายได้ที่ไม่เป็นธรรม
- การดำเนินนโยบายที่ผิดพลาดของรัฐบาล
- อุปสงค์ของผู้บริโภคสูงกว่าอุปทานของผู้ผลิต
ตลาดประเภทใดที่ผู้ผลิตไม่จำเป็นต้องโฆษณาสินค้า
- ตลาดแข่งขันสมบูรณ์
- ตลาดผูกขาด
- ตลาดผู้ขายน้อยราย
- ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
ธนาคารพาณิชย์ในประเทศไทยถือเป็นตลาดประเภทใด
- ผู้ขายน้อยราย
- แข่งขันสมบูรณ์
- ผูกขาด
- กึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
ข้อใดไม่ใช่มาตรการในการแก้ไขปัญหาตลาดมืด
- ให้ความรู้ทางเศรษฐศาสตร์แก่ผู้บริโภค
- เร่งผลิตสินค้าที่ขาดแคลนมากขึ้น
- ปราบปรามผู้ฉวยโอกาสขึ้นราคาสินค้า
- สั่งซื้อสินค้าที่ขาดแคลนจากต่างประเทศ
ข้อใดไม่ใช่ตลาดปัจจัยการผลิต
- ตลาดหุ้น
- ตลาดทราย
- ตลาดแรงงาน
- ตลาดโคกระบือ
ข้อใดคืออุปทาน
- ความต้องการของผู้ผลิตหรือผู้ขาย ในการขายสินค้าและบริการ ที่ผู้ผลิตเสนอขายในระยะเวลาหนึ่ง
- ความต้องการของผู้บริโภคในการซื้อสินค้าและบริการในระยะเวลาหนึ่ง ซึ่งอาจเปลี่ยนแปลงได้เพราะจำนวนประชากร รสนิยมในการบริโภค
- การตัดสินใจเลือกบริโภคสินค้าและบริการที่ทำให้ตนได้รับความพอใจมากที่สุด
- กระบวนการผลิตสินค้าหรือบริการ ที่ทำให้ผู้บริโภคได้รับอรรถประโยขน์สูงสุด
กฎของอุปสงค์ต่อราคากล่าวว่าอย่างไร
- เมื่อราคาสินค้าสูงขึ้นปริมาณความต้องการซื้อสินค้าจะลดลง
- เมื่อราคาสินค้าสูงขึ้นปริมาณความต้องการซื้อสินค้าจะสูงขึ้น
- เมื่อราคาสินค้าต่ำลงปริมาณความต้องการซื้อสินค้าจะลดลง
- เมื่อต้นทุนราคาสินค้าสูงขึ้นปริมาณความต้องการซื้อสินค้าจะเพิ่มขึ้น
ข้อใดจัดเป็นกฎของอุปทาน Law of Supply
- เมื่อราคาสินค้าและบริการสูงขึ้นความต้องการขายมากขึ้น
- เมื่อราคาสินค้าและบริการต่ำลงความต้องการขายมากขึ้น
- เมื่อราคาสินค้าและบริการสูงขึ้นความต้องการขายลดลง
- ราคาของสินค้าและบริการไม่มีผลต่อการอุปโภคหรือบริโภค
คำว่า "อุปทานลดลง" น่าจะสอดคล้องกับข้อใด
- ถ้าให้ขายสินค้าราคาถูกลง ผู้ผลิตจะขายในปริมาณน้อยลง
- ถ้าให้ขายสินค้าราคาถูกลง ผู้ผลิตจะขายในปริมาณเพิ่มขึ้น
- ถ้าให้ขายสินค้าปริมาณเพิ่ม ผู้ผลิตจะขายในปริมาณน้อยลง
- ถ้าให้ขายสินค้าราคาสูง ผู้ผลิตจะขายในปริมาณเพิ่มขึ้น
การลดลงของราคารถจักรยานยนต์ ปริมาณขายรถจักรยานยนต์ เพิ่มขึ้นตามไปด้วยเป็นผลมาจากอะไร
- การเพิ่มขึ้นของอุปสงค์
- การลดลงของอุปสงค์
- การลดลงของอุปทาน
- การเพิ่มขึ้นของอุปทาน
ตามกลไกราคาเหตุการณ์ของการขาดแคลนข้าวเกิดขึ้นเมื่อใด
- ปริมาณอุปสงค์ของข้าวมีมากกว่าปริมาณอุปทานของข้าว
- ปริมาณอุปทานของข้าวมีมากกว่าปริมาณอุปสงค์ของข้าว
- ผลผลิตข้าวปีนี้สูงกว่าปีที่แล้ว
- ผลผลิตข้าวปีนี้ต่ำกว่าปีที่แล้ว
ข้อใดน่าจะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงปริมาณการจำหน่ายบนเส้นอุปทานของน้ำมันเบ็นซินหน้าปั้ม
- ราคาน้ำม้นเบ็นซิน
- ราคาน้ำมันแก๊สโซฮอล์ 95
- ราคาน้ำมันดีเซล
- ราคาปิโตรเลียม
กฎของอุปทาน แสดงถึงอะไร
- ความสัมพันธ์ในทางเดียวกันระหว่างราคาสินค้าและปริมาณอุปทาน
- ความสัมพันธ์ในทางเดียวกันระหว่างปริมาณเสนอซื้อและปริมาณเสนอขาย
- ความสัมพันธ์ในทางตรงข้ามระหว่างปริมาณเสนอซื้อและปริมาณเสนอขาย
- ความสัมพันธ์ในทางตรงกันข้ามระหว่างราคาสินค้าและปริมาณอุปทาน
ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
- เมื่อราคาสินค้าและบริการสูงขึ้นความต้องการซื้อจึงมากขึ้น
- เมื่อราคาสินค้าและบริการต่ำลงความต้องการซื้อจึงมากขึ้น
- เมื่อราคาสินค้าและบริการสูงขึ้นความต้องการขายจึงมากขึ้น
- เมื่อราคาสินค้าและบริการต่ำลงความต้องการขายจึงต่ำลง
อุปทาน suply หมายถึงอะไร
- ความต้องการของผู้ประกอบการในการขายสินค้าและบริการ
- ความต้องการของผู้ผลิตที่จะซื้อสินค้าและบริการ
- ความต้องการของผู้บริโภคในการซื้อสินค้าและบริการ
- ความต้องการของผู้ขายสินค้าในการซื้อสินค้าและบริการ
ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบที่ทำให้อุปสงค์จะสัมฤทธิ์ผล ( Effective Demand )
- ต้นทุนการผลิต( production cost)
- ความต้องการซื้อ( Want )
- อำนาจซื้อ ( Purchasing Power )
- ความเต็มใจที่จะซื้อ ( Ability and Willingness )
ราคาสินค้าที่ทำให้เกิด “อุปสงค์ส่วนเกิน” คือราคาในข้อใด
- ราคาที่ต่ำกว่าราคาดุลยภาพ
- ราคาที่สูงกว่าราคาดุลยภาพ
- ราคาที่เกินต้นทุน
- ราคาดุลยภาพ
ตามกลไกราคาเหตุการณ์ของการขาดแคลนน้ำตาลทรายเกิดขึ้นเมื่อใด
- ปริมาณอุปสงค์ของน้ำตาลทรายมีมากกว่าปริมาณอุปทานของน้ำตาลทราย
- ปริมาณอุปทานของน้ำตาลทรายมีมากกว่าปริมาณอุปสงค์ของน้ำตาลทราย
- ผลผลิตน้ำตาลทรายปีนี้สูงกว่าปีที่แล้ว
- ผลผลิตน้ำตาลทรายปีนี้ต่ำกว่าปีที่แล้ว
ข้อใดเป็นสินค้าขั้นสุดท้าย
- ข้าวผัดกระเพา
- ข้าวหอมมะลิ
- ข้าวขาว100 เปอร์เซนต์
- ข้าวเปลือก
ข้อใดจัดเป็นสินค้าทุน
- รถไถของชาวนา
- รถจักรยานเสือภูเขา
- รถเก๋งส่วนบุคคล
- รถยนต์เปิดประทุน
ข้อใดต่อไปนี้จัดเป็นไม่จัดเป็นทุนของชาวนาตามความหมายของปัจจัยการผลิต
- น้ำในนาข้าวของชาวนา
- กระบือที่ใช้ในการไถนา
- ข้าวเปลือกที่รับพระราชทานมาจากวันแรกนาขวัญ
- ปุ๋ยที่เหลือจากการทำนาเมื่อปีที่แล้ว
ข้อใดคือสินค้าที่นายวันชัยบริโภคภายในเวลา หนึ่งวัน นายวันชัย บริโภคสินค้าคงทนและสินค้าไม่คงทน
- รถยนต์ โทรทัศน์ และยาสีฟัน
- อาหาร เครื่องสำอาง และ ยาแก้ปวด
- เสื้อผ้า เครื่องประดับ และโต๊ะอาหาร
- สบู่ น้ำหอม และดูภาพยนตร์
ข้อใดไม่ใช่วิธีการที่ผู้ผลิตใช้แก้ปัญหาพื้นฐานในทางเศรษฐกิจ
- สมรักเลือกบริเวณสวนจตุจักรในการประกอบอาชีพ
- สมศรีเลือกอาชีพขายกาแฟสด
- สมศักดิ์เลือกผลิตสินค้าสำหรับวัยรุ่นเท่านั้น
- สมใจเลือกใช้ปัจจัยการผลิตที่ทำให้ต้นทุนต่ำ
ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
- เมื่อราคาสินค้าและบริการสูงขึ้นความต้องการซื้อจึงมากขึ้น
- เมื่อราคาสินค้าและบริการต่ำลงความต้องการซื้อจึงมากขึ้น
- เมื่อราคาสินค้าและบริการสูงขึ้นความต้องการขายจึงมากขึ้น
- เมื่อราคาสินค้าและบริการต่ำลงความต้องการขายจึงต่ำลง
ราคาสินค้าที่ทำให้เกิด “อุปทานส่วนเกิน” คือราคาในข้อใด
- ราคาที่สูงกว่าราคาดุลยภาพ
- ราคาที่ต่ำกว่าราคาดุลยภาพ
- ราคาที่เกินต้นทุน
- ราคาดุลยภาพ